หน่วยที่ 6 การปิดบัญชีและออกรายงานการเงิน

การเปิดบัญชี และ ออกรายงานงบการเงิน


  สาระสำคัญประจำหน่วย
          การเปิดบัญชีขั้นตอนสุดท้ายก่อนที่กิจการจะจัดทำงบการเงิน ในการบันทึกรายการเปิดบันชีเป็นการสรุปผลการดำเนินการ จากยอดรวมของบัญชีรายได้ค่าใช้จ่าย และแสดงฐานะการเงินจากบัญชีสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ เมื่อสิ้นรอบบัญชีหรืองวดบัญชีโดยกิจการสามารถจัดทำงบการเงินอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง หรือตามที่กิจการกำหนด เช่น เดือน  เดือน เดือน การจัดทำงบการเงินสามารถตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลทางหน้าจอก่อนพิมพ์ โดยตั้งค่าหน้ากระดาษ กำหนดรายละเอียดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหัวกระดาษหรือท้ากระดาษ  เลขหน้า ขนาดกระดาษให้เหมาะสมกับข้อมูล  เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดก่อนการพิมพ์ ทำให้ไม่สิ้นเปลือง เป็นการประหยัดในการใช้ทรัพย์ยากรที่ดี

 6.1 การบันทึกรายการเปิดบัญชี
 การบันทึกรายการเปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป และผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนปิดบัญชีของธุรกิจบริการและกิจการซื้อขายสินค้ามีลักษณะที่คล้ายกัน  เพียงแต่ธุรกิจซื้อขายสินค้าจะต้องบันทึกรายการปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนสินค้าที่ขาย
 (Cost Goods Sold) เมื่อเปิดบัญชีแล้วบัญชีประเภทรายได้ ค่าใช้จ่าย และบัญชีกำไรขาดทุน ซึ่งเป็นบัญชีชั่วคราว ณ วันสิ้นสุดงวดบัญชีที่ถูกปิดไม่เหลือยอดอยู่ในบัญชี

 6.1.1  ขั้นตอนบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
     การเปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไปของกิจการและธุรกิจ ซื้อขาย มีลำดับขั้นตอนการเปิดบัญชี ดังนี้

ขั้น
ธุรกิจบริการ
ขั้น
ธุรกิจซื้อขายสินค้า
  1
เปิดบัญชีรายได้เข้าบัญชีกำไรขาดทุน

เดบิตรายได้             XX
          เครดิต กำไรขาดทุน         XX                 
 1
บันทึกสินค้าคงเหลือ(ต้นงวด) และเปิดบัญชี
เกี่ยวข้องกับต้นทุนขายด้านเดบิต
เดบิต  ต้นทุน                         XX
       เครดิตสินค้าคงเหลือ(ต้นงวด)      XX
                    ซื้อสินค้า                 XX
                    ค่าขนส่งเข้า              XX      


 2
บันทึกรายการสินค้าคงเหลือ ปลายงวด ปิด
เกี่ยวข้องกับต้นทุนขายด้านเครดิต
เดบิต สินค้าคงเหลือ (ปลายงวด)        XX
        ส่งสินค้า                            XX
        ส่วนลดรับ                          XX
        เครดิต ต้นทุนขาย                    XX        
 2
เปิดบัญชีค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุน
เดบิต กำไรขาดทุน                   XX
          เครดิต  ค่าใช่จ่ายต่างๆ         XX

 3
ปิดบัญชีรายได้เข้าบัญชีกำไรขาดทุน
เดบิต  กำไรขาดทุน              XX
          รายได้อื่น            XX
              เครดิตกำไรขาดทุน          XX                                            
 3
ปิดบัญชีกำไรขาดทุนเข้าบัญชีกำไรสะสม
(กรณีกำไรสุทธิ)
เดบิตกำไรขาดทุน                  XX
     เครดิตทุน  (หรือกกำไรสะสม)      XX
(กรณีขาดทุนสุทธิ)
เดบิต ทุน (หรือกำไรสะสม)      XX
         เครดิต กำไรขาดทุน               XX

 4
เปิดบัญชีค่าใช้จ่ายและต้นทุนขาย (ผลต่าง)
เข้าบัญชีกำไรขาดทุน
เดบิต ขายสินค้า                       XX
         เครดิตต้นทุนขาย                   XX
         รับคืนสินค้า                         XX
          ส่วนลดรายจ่าย                    XX
          ค่าใช่จ่ายต่างๆ                     XX
 4
ปิดบัญชีถอนใช้ส่วนตัว
(เจ้าของกิจการคนเดียว) 
เดบิต ทุน                      XX
  เครดิต  ถอนใช้ส่วนตัว               XX                    
 5
เดบิต   กำไรขาดทุน           XX
เครดิต กำไรสะสม                           XX
(กรณีขาดทุนสุทธิ)
เดบิต กำไร สะสม               XX
เครดิต  กำไรขาดทุน                       XX

 จากตัวอย่างจากตัวอย่าง งบทดลองของร้านกิจไพศาล (หน่วยที่ หน้า
ขั้นตอนในการปิดบัญชี ในสมุดรายวันทั่วไป มีดังนี้
1. เปิดสมุดงานชื่อ  Form2  และเพิ่มแผนงานชื่อ  การเปิดบัญชี”
2. จัดเก็บสมุดงานใหม่ชื่อ Closing
3. บันทึกลงในการปิดบัญชีมี 5  ขั้นตอน

ขั้นตอนที่    เปิดบัญชีสินค้าคงเหลือ (ต้นงวด)  และบัญชีเกี่ยวข้องกับต้นทุนขายด้านเดบิต




ขั้นตอนที่   บันทึกสินค้าคงเหลือ (ปลายงวด) จำนวน  38,000 บาท และ ปิดบัญชีเกี่ยวข้องกับต้นทุนด้านเครดิต



ขั้นตอนที่  3  ปิดบัญชีรายได้จากการขายสินค้าเข้าบัญชีกำไรขาดทุน

ขั้นตอนที่  4  ปิดบัญชีค่าใช่จ่ายต่างๆ  และต้นทุนขาย (ผลต่าง) เข้าบัญชีกำไรขาดทุน


ขั้นตอนที่   ปิดกำไรขาดทุนสุทธิเข้าบัญชีทุน


6.1.2 ขั้นตอนการเปิดบัญชีแยกประเภท
      เมื่อกิจการได้บันทึกปิดรายการได้และค่าใช้จ่ายในสมุดรายวันทั่วไปแล้ว จะต้องผ่านรายการบัญชีแยกประเภททั่วไปทุกรายการ ซึ่งในการผ่านรายการบัญชีไปแยกประเภททั่วไปนั้น ทำให้การอ้างอิงจาการจดบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป  (ข้ามชีต) โดยปฏิบัติเช่นเดียวกับการบันทึกบัญชีในหน่วยที่  ดังนั้น บัญชีรายได้ ค่าใช้จ่าย  กำไรขาดทุน และถอนใช้ส่วนตัว (ถ้ามี)  ทุกบัญชีจะต้องรวมยอดด้านเดบิต เท่ากับด้านเครดิต  ดังภาพ 6.3
ขั้นตอนที่  ปิดบัญชีสินค้าคงเหลือ (ต้นงวด) และบัญชีที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนขายด้านเดบิต



ขั้นตอนที่ 2 บันทึกสินค้าคงเหลือ (ปลายงวด) และปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนขายด้านเครดิต
ขั้นตอนที่  ปิดบัญชีรายได้จากการขายสินค้าเข้าบัญชีกำไรขาดทุน
ขั้นตอนที่ 4  ปิดบัญชีค่าใช้จ่ายต่างๆ  และต้นทุนขาย (ผลต่าง) เข้าบัญชีกำไรขาดทุน
ขั้นตอนที่ 5 ปิดบัญชชีกำไรขาดทุนสุทธิเข้าบัญชีทุน
  
 ส่วนบัญชีสินทรัพย์  หนี้สิน  สวนของเจ้าของ (ทุน) จะต้องหาผลต่างเพื่อแสดงยอดคงเหลือยกไปในงวดบัญชีถัดไป  และจะแสดงยอดคงเหลือออกมมา โดยสินทรัพย์มียอดคงเหลือ ด้านเดบิต หนี้สิน และ ส่วนของเจ้าของ (ทุน) มียอดคงเหลือด้านเครดิต ขั้นตอนการปิดบัญชี  ดังภาพ 6.4

ขั้นตอนที่ 1  ผลต่างยอดคงเหลือให้ตัวเลขไปใส่ไว้ด้านตรงข้าง  แสดงเป็นยอดยกไปไว้วัน
               สิ้นเดือนหรือสิ้นปี  โดยนำเมาส์มาวางไว้ที่ช่องจำนวนเงินด้านเครดิต ( J7) ใส่เครื่องหมาย = คลิกที่เซลล์  C6 แล้ว Enter จะปรากฏตัวเลข 32,805.00


ขั้นตอนที่ 2   รวมยอดด้วยเดบิตและเครดิตให้เท่ากัน โดยนำเมาส์มาวางไวที่ช่องจำนวนเงินด้าน
                 เดบิต (E8) ใส่เครื่องหมาย =คลิกที่เซลล์ E6 แล้ว Enter  จะปรากฏตัวเลข
                 45,095.00 ส่วนด้านเครดิต (J8) ใช้สูตร =Sum(J6:J7) แล้ว  Enter หรือแดร็กเมาส์
                 แล้วคลิกที่ไอคอน   จะปรากฏตัวเลข 45,095.00
             

 6.2 การจัดทำงบการเงิน
 งบการเงินธุรกิจการซื้อขาย มีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับธุรกิจบริการ เพื่อแสดงถึงผลการดำเนินงาน และฐานะทางการเงินของธุรกิจของการสิ้นสุดรอบบัญชีหรือสิ้นงวดบัญชี โดยจัดทำขึ้นอย่างน้อย ปีละหนึ่งครั้ง  งบการเงินประกอบด้วย  งบแสดงฐานะการเงิน  งบกำไรขาดทุน  งบแสดงการเลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ  งบกระแสเงินสด  และหมายเหตุการณ์ประกอบงบการเงิน แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงการจัดทำงบกำไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงินเท่านั้น

6.2.1  งบกำไรขาดทุน
 เป็นงบที่แสดงผลการดำเนินงานเมื่อสิ้นระยะเวลาหนึ่ง  อาจกำหนดไว้ 1เดือน  เดือน เดือนหรือ 1 ปี เดือนแล้วแต่กิจการนั้นๆได้กำหนดไว้ถ้าหากรายได้มากกว่าค่าใช้จ่ายก็จะเป็นกำไรแต่ถ้ารายได้น้อยกว่าค่าใช้จ่ายก็จำกลายเป็นขาดทุนนั้นเอง  ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้บริหาร  งบกำไรขาดทุนได้แก่  บัญชีรายได้และค่าใช่จ่าย  ลักษณะที่แตกต่างกันระหว่างธุรกิจบริการกับธุรกิจการซื้อขาย ได้แก่  บัญชีสินค้าคงเหลือและกำไรขั้นต้นที่คำนวณได้จากยอดขายกำไรสุทธิหักต้นทุนขายสามารถทำได้ แบบคือ 

 1 ) งบกำไรขาดทุนขั้นเดียว  (Single –Steg   lncome Statement) เป็นการวัดผลการดำเนินการโดยนำรายได้ทุกรายการหักออกจากค่าใช้จ่ายทุกรายการ  เพื่อหากำไรหรือขาดทุนสุทธิ

2งบกำไรขาดทุนแบบหลายขั้น  (Multiple-Step  lncome Statement เป็นการวัดการดำเนินจากรายได้หลัก เพื่อหากำไรข้างต้น โดยนำรายงานมาหักออกเป็นต้นทุนขายแล้วจึงนำหักค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ  ผลต่างเป็นกำไรสุทธิจากการดำเนินงาน และหักภาษีได้จะได้ผลกำไรหรือขาดทุนสุทธิ ดังนั้น งบกำไรขาดทุนจึงต้องแสดงผลกำไรหลายขั้น ได้แก่ กำไรขั้นต้น กำไรสุทธิจากการดำเนินงาน กำไรสุทธิจากการหักภาษีเงินได้ และกำไรขาดทุนสุทธิ

 6.2.2 งบเเสดงฐานะการเงิน   (statement of financial position)
     งบแสดงฐานะการเงิน (statement of financial position) หมายถึง การรายงานทางการเงินที่ทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปเพื่อแสดงให้เห็นฐานะการเงินของกิจการ ณ วันสิ้นงวด   องค์ประกอบของงบแสดงฐานะการเงิน จึงเป็นรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวัดฐานะการเงินของกิจการ ซึ่งได้แก่ สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ

6.3 การพิมพ์สมุดงานออกทางเครื่องพิมพ์
      เมื่อจัดทำแบบฟอร์มและพิมพ์หัวข้อมูลต่างๆ เป็นที่เรียบร้อย ก่อนพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ ควรมี การกำหนดพื้นที่ในการพิมพ์หรือดูตัวอย่างก่อนพิมพ์เพื่อให้ข้อมูลที่ต้องการมีความถูกต้องและสวยงาม
6.1.3 การตั้งค่าหน้ากระดาษ
    เป็นการจัดรูปแบบของข้อมูลที่ต้องการสั่งพิมพ์ เช่น ระยะขอบ ขนาดกระดาษ หัวกระดาษ ท้ายกระดาษ ฯลฯ เพื่อให้ข้อมูลมีความสมบูรณ์และสวยงาม ซึ่งหากไม่ได้กำหนดพื้นที่ ก่อนพิมพ์งานโปรแกรมจักตัดทำการแบ่งแผ่นงานออกเป็นส่วนๆ เท่ากับของการตั้งค่ากระดาษที่ตั้งไว้ แล้วพิมพ์ออกมาให้ทั้งหมด ดังนั้น หากต้องการพิมพ์บางส่วนของแผนงาน จะต้องกำหนดพื้นที่ที่จะสั่งพิมพ์งาน  การตั้งค่าหน้ากระดาษ
ดังภาพ 6.9 
คลิกเลือก Page Layout
เลือกปุ่ม  Size
เลือกขนาดกระดาษ A4
4 คลิกปุ่ม View (มุมมอง)
คลิกปุ่ม Page Layout เพื่อดูตัวอย่างก่อนพิมพ์

6 แสดงตัวอย่างข้อมูลการพิมพ์บนกระดาษ




นอกจากรายการเลือกระยะขอบ (Marins) ตามที่แบบ Excel ที่เตรีมไว้แล้วนั้น เรายังสามารถปรับขอลกระดาษได้อย่างอิสระ ดังภาพ 6.10 
คลิกปุ่ม Margins (ระยะขอบ)
คลิกเลือก Custorm Margins (กำหนดขอบกระดาษ)
กำหนดระยะขอบกระดาษตามความต้องการทั้งด้าน Top (บน) Bottom (ล่าง) Left (ซ้าย) และ Right (ขวา)

4 คลิกปุ่ม (ตัวอย่างก่อนพิมพ์)




6.3.2 การกำหนดหัวกระดาษหรือท้ายกระดาษ
     แท็บเป็นหัวกระดาษหรือท้ายกระดาษ (Header/Footer) การกำหนดหัวกระดาษหรือข้อความหัวกระดาษและท้ายกระดาษ การกำหนดเลขหน้า ข้อความบางข้อความ เพื่อให้ปรากฏบนเอกสารทุกๆ หน้าได้โดยกำหนดไว้ที่แนวหัวกระดาษ เช่น ต้องการให้หัวกระดาษปรากฏ  การบัญชีกับคอมพิวเตอร์”  และเลขหน้า คลิกหัวกระดาษกำหนดเอง แล้วพิมพ์ในส่วนที่ต้องการ ดังภาพ 6.11
คลิกปุ่ม  Custom Header …. หรือ Custom Footer
เลือกส่วนที่จะพิมพ์ตามส่วนที่ต้องการ เช่น ต้องการใส่หัวกระดาษปรากฏคำว่า การบัญชีกับคออมพิวเตอร์”
หรือเลือกคำสั่งที่ Excel เตรียมไว้เพื่อเติมข้อมูลอื่นๆ เช่นรูปแบบตัวอักษร  เลขหน้า
วันที่ ชื่อไฟล์ ฯลฯ
4คลิกปุ่ม ok
  

6.3.3 การตั้งค่าหน้ากระดาษแผ่นงาน
ค่าหน้ากระดาษแผ่นงาน ประกอบด้วย แถบเครื่องมือพื้นที่พิมพ์  เพื่อกำหนดกลุ่มเซลล์ที่ต้องการพิมพ์ หัวข้อเรื่องที่จะพิมพ์ แถวที่จะพิมพ์ซ้ำด้านบน คอลัมน์ที่จะพิมพ์ซ้ำทางซ้าย เช่น หากต้องการให้ข้อมูลแถวที่ 1-5  เป็นหัวเรื่องให้ตัวเลือกแถวที่จะพิมพ์ซ้ำค้านบน (เซลล์$1:$5)  ดังภาพที่ 6.12
เลือกพื้นที่หัวข้อเรื่องที่ต้องการพิมพ์ซ้ำด้านบน
2 คลิกที่แท็บ Sheet  (แผ่นงาน)
คลิกเลือกที่ช่อง Rows to Repeat at top (แถวที่จะเพิ่มซ้ำด้านบน)
4 คลิกปุ่ม ok




6.3.4 การเรียกดูสุดก่อนพิมพ์งาน
เป็นการตรวจสอบงานก่อนพิมพ์งานออกกระดาษ โดยการทำการตรวจสอบงานทางหน้าจอก่อนผลลัพธ์ที่ได้จากหน้าจอจะเหมือนกับการพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ หากผิดพลาดจะทำได้แก้ปัญหาได้ ดังนั้นการตรวจสอบงานก่อนการคำสั่งพิมพ์สามารถทำได้
ดังภาพที่ 6.13
 คลิกปุ่ม office Button
เลือกคำสั่ง Print (พิมพ์)
3 เลือก Preview (ตัวอย่างก่อนพิมพ์)




   หลังจากการตรวจสอบความถูกต้องของการพิมพ์และการแบ่งหน้ากระดาษของแผนงาน หากมีข้อมูลจำนวนมาก และปรากฏว่าข้อมูลบางส่วนไม่อยู่ภายในหน้าเดียวกัน และใช้วิธีการย่อสัดส่วนลง เพื่อให้เห็นภาพ ของรายงานทั้งหมด เพื่อให้เห็นว่างานมีความถูกต้องและสวยงามจึงพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ เพื่อลดความสิ้นเปลืองของกระดาษที่ใช้ในการพิมพ์อีกด้วย
6.3.5 การพิมพ์สมุดงานออกทางเครื่องพิมพ์
เมื่อกำหนดส่วนต่างๆ ของแผนงานและตรวจสอบความเรียบร้อย ต้องการพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์ จะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
1) การพิมพ์สมุดงานบางส่วน กรณีนี้ก่อนจะสั่งพิมพ์ต้องลากเมาส์ให้คลุมเซลล์ที่ต้องการ แต่ต้องอยู่ในขอบเขตของกระดาษที่ผู้ใช้ตั่งค่าไว้ ดังภาพที่ 6.14
คลุมเซลล์ที่ต้องการพิมพ์
 คลิกปุ่ม office Button
3 คลิกคำสั่ง Print   Print
4 คลิกเลือกรุ่นเครื่องพิมพ์ (Printer Name) ที่ใช้งาน
5 เลือก Print What (สิ่งที่ต้องการพิมพ์) คลิกเลือก Selector (ส่วนเลือก)
กำหนดจำนวนสำเนา  (Nunmber of copies)
คลิกปุ่ม ok



    2.)การพิมพ์สมุดงานทั้งหน้า เมื่อต้องการใช้ตั้งหน้ากระดาษเรียบร้อยแล้ว  จะมองเห็นขออบเขต ของข้อมูลที่ปรากฏของแต่ละหน้า ผู้ใช้ต้องการสั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ ดังภาพ 6.15
คลิกปุ่ม office Button
คลิกคำสั่ง Print   Print
คลิกเลือกรุ่นเครื่องพิมพ์ (Printer Name) ที่ใช้งาน
เลือก Rrint Range (ช่วงที่ต้องการพิมพ์) คลิกเลือก Page Form (ระบุที่ต้องการพิมพ์)
กำหนดจำนวนสำเนา (Nameber of copies)
คลิกปุ่ม ok

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น